top of page

Welcome to my site

Seismology is a science that studies the generating, propagating, and recording of the seismic wave that propagate inside the earth media. My study is composed of all three elements, generating (earthquake source), propagating (earth media), and recording. We aim to investigate the regional seismological research in our homeland, Thailand and adjacent countries.

      Although, seismicity in Thailand is relatively small compare to other regions around the world. Thailand had been affected by the earthquake both direct and indirect. In 2004, Great Sumatra Earthquake and its Tsunami cause damaged to many lives and properties.
In 2014, largest earthquake in Thai history occur at Phayao Fault Zone, Chiang Rai Province.

 

      Until now, deep earth structure beneath Thailand is poorly known. This leading to the misunderstanding about the tectonic evolution, earthquake hazard estimation and mitigation, and mineral resource management. Seismology is the most common and powerful tool for a scientist to study the earth structure. 

 

      งานวิจัยด้านคลื่นไหวสะเทือนจากแผ่นดินไหว เป็นงานวิจัยที่ประกอบไปด้วยการศึกษาสิ่งที่เป็นแหล่งกำเนิดคลื่น การศึกษาการเคลื่อนที่และโครงสร้างที่คลื่นที่ผ่าน และ การบันทึกคลื่นไหวสะเทือนที่ยังตำแหน่งต่างๆ ทีมวิจัยของเรามีเป้าหมายที่จะสร้างองค์ความรู้และงานวิจัยด้านแผ่นดินไหววิทยาสำหรับประเทศไทย โดยงานวิจัยของเราจะมีความเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวในบริเวณแผ่นดินเกิดของเรา การศึกษาโครงสร้างระดับเปลือกโลกและเนื้อโลกชั้นบน และการติดตั้งสถานีวัดคลื่นแผ่นดินไหวในบริเวณต่างๆ ในประเทศไทย

International conference in Geophysics 2018, Songkha

UPCOMING EVENTS

Siam Physics Congress, 2018, Naresuan University
GEOTHAI2018
BKK

MY LATEST RESEARCH

การศึกษากลไกแผ่นดินไหวและโครงสร้างบริเวณกลุ่มรอยเลื่อยพะเยา สอดคล้องในการบ่งชี้ถึงความไม่เสถียรของรอยเลื่อนส่วนแม่ลาว

June 20, 2017

จากการศึกษากลไกแผ่นดินไหวผ่านคลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหวและการสำรวจธรณีฟิสิกส์ด้วยกระบวนวิธีแมกเนโตเทลูริกซ์โดยกลุ่มวิจัยธรณีฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่ามีรอยเลื่อนส่วนแม่ลาวน่าจะเป็นรอยเลื่อนที่มีความไม่เสถียรสูงและเป็นสาเหตุของแผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 และแผ่นดินไหวตาม

โดยจากการศึกษาความเค้นภูมิภาคที่กระทำต่อระนาบรอยเลื่อน พบว่ารอยเลื่อนแม่ลาวมีความเค้นเฉือนกระทำมากกว่ารอยเลื่อนส่วนอื่นๆ นอกจากนี้จากโมเดลแบบจำองสภาพต้านทานไฟฟ้า คณะผู้วิจัยยังพบว่าบริเวณรอยเลื่อนน่าจะมีรูพรุนที่เป็นที่สะสมของของเหลว ของเหลวเหล่านี้ช่วยลดแรงเสียดทานที่ระนาบรอยเลื่อน และทำให้เกิดแผ่นดินไหวได้ง่ายขึ้นด้วย

Please reload

Current Project

  • Thai Seismic ARray (TSAR) in collaborating with Japanese institute and seismologists 

  • Integrated Array Receiver function analysis: Toward highest resolution of crustal mapping in Thailand

  • Earthquake Local magnitude in Thailand: 5 Richter in Thailand is not equal to 5 Richter!!!

bottom of page